บ้านพักอาศัยส่วนตัวย่านลำลูกกา ต้องการติดตั้งฉนวนกันความร้อน เพื่อป้องกันความร้อน เนื่องจากประสบปัญหาความร้อนจากภายนอกเข้าสู่ภายในตัวบ้าน ทำให้ร้อนอบอ้าว เจ้าของบ้านไว้วางใจในผลิตภัณฑ์ของดูรากรีต ตัดสินใจเลือกใช้ฉนวนกันความร้อน FLEX-KOOL (เฟล็กซ์คูล) ที่มีประสิทธิภาพในการลดความร้อน ป้องกันความร้อน โดยการสะท้อนความร้อนได้มากถึง 96% เทียบเท่ากับ ฉนวนกันความร้อนภายในอาคาร ประเภทฉนวนกันความร้อนใยแก้วหนา 4 นิ้ว หรือฉนวนกันความร้อน PU Foam หนา 4 นิ้ว ในขณะที่ฉนวนกันความร้อน FLEX-KOOL (เฟล็กซ์คูล) ราคาถูกกว่า ติดตั้งง่ายกว่า เร็วกว่า และมีอายุการใช้งานยาวนานกว่า
ฉนวนกันความร้อนหลังคา
รายการ | ฉนวนติดตั้งภายในอาคาร (Interior Insulation) (ใยแก้ว, โฟม, เยื่อกระดาษ ฯลฯ) | ฉนวนติดตั้งภายนอกอาคาร FLEX-KOOL |
การติดตั้ง | ติดตั้งใต้แผ่นหลังคา | เคลือบบนแผ่นหลังคาหรือผนังอาคาร |
หลักการป้องกันความร้อน | ป้องกันความร้อนหลังจากที่แผ่นหลังคาหรือผนังของอาคารได้รับความร้อนแล้ว | สะท้อนรังสีความร้อน ก่อนที่แผ่นหลังคาหรือผนังของอาคารจะได้รับความร้อน |
ระบบการป้องกันความร้อน | ป้องกันการถ่ายเทความร้อนในลักษณะการนำความร้อน (Conduction) | ป้องกันการถ่ายเทความร้อนในลักษณะการแผ่รังสี |
วิธีการป้องกันความร้อน | ใช้วิธีการ “หน่วง” ความร้อน โดยควบคุมการถ่ายเทความร้อนผ่านตัวฉนวนเข้าสู่อาคารช้าลง | ใช้วิธีสะท้อนความร้อนและคายความร้อนออกภายนอก ทำให้ความร้อนตกค้างสุทธิบนแผ่นหลังคาหรือผนังของอาคารน้อยลง แผ่นหลังคาหรือผนังจะเย็นลง |
ความร้อนสะสมบนแผ่นหลังคาการติดตั้ง | เพิ่มขึ้น มากกว่าหลังคาเดิม ทำให้หลังคาเกิดความเสียหายเร็วขึ้น | ลดลง ต่ำกว่าหลังคาเดิม ช่วยยืดอายุการใช้งานของหลังคาให้นานกว่าเดิม |
ค่าที่ใช้พิจารณาในการเลือกคุณสมบัติเพื่อการใช้งานในการป้องกันความร้อน | เลือกที่ R-Value ยิ่งมาก หรือความหนามากขึ้นก็จะยิ่งหน่วงความร้อนได้ดี สำหรับประเทศไทย R-Value อย่างน้อย = 1.428 m2 K/W | ค่า Solar Reflectance = 96% ค่า Solar Absorbtance = 4% ค่า Themal Emittance = 91% |
ความหนาของฉนวน | ความหนาของฉนวนมีผลโดยตรงต่อประสิทธิภาพการกันความร้อน ยิ่งหนา ประสิทธิภาพยิ่งสูง | ความหนาไม่มีผลต่อประสิทธิภาพการกันความร้อน |
ความสะดวกในการติดตั้ง | มีขั้นตอนในการติดตั้งหลายขั้นตอน | ขั้นตอนง่าย ติดตั้งได้สะดวก |
การหยุดใช้อาคาร เพื่อทำการติดตั้ง (อาคารที่ใช้งานแล้ว) | ต้องหยุดการใช้อาคารด้านล่างระหว่างการติดตั้ง | ไม่ต้องหยุดการใช้อาคาร สามารถติดตั้งได้ แม้อาคารที่มีการใช้งานแล้ว |
ผลกระทบกับฝ้าเพดาน | โอกาสที่แผ่นฝ้าจะเสียหายมีสูง โดยเฉพาะในอาคารเก่า | ติดตั้งภายนอก ไม่มีผลกระทบกับแผ่นฝ้า |
ผลกระทบกับงานระบบภายในอื่น ๆ | มีผลกระทบกับงานระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ ท่อดับเพลิง | ไม่มีผลกระทบกับระบบภายในอาคาร |
ผลจากความร้อนของแผ่นหลังคา | ความร้อนเข้าสู่ภายในอาคาร ทำให้สายไฟฟ้า โคมไฟ หลอดไฟ และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่อยู่ในช่องว่างใต้แผ่นหลังคาแตกกรอบเสื่อมคุณภาพเร็วกว่าปกติ | ป้องกันความร้อนก่อนที่จะเข้าอาคาร จึงช่วยให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่อยู่ใต้แผ่นหลังคามีอุณหภูมิลดลง เป็นการยืดอายุการใช้งานให้ยาวนานขึ้น |
การซ่อมแซมบำรุงรักษา | ต้องทำอย่างระมัดระวัง เนื่องจากอยู่ภายในอาคาร มีขั้นตอนการเตรียมงานมาก ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายสูง และอาจกระทบต่อการผลิต (กรณีโรงงาน) | ทำได้ง่าย เนื่องจากทำงานภายนอกอาคาร จึงมีค่าใช้จ่ายต่ำ และไม่กระทบต่อการผลิต (กรณีโรงงาน) |
ฉนวนกันความร้อนหลังคา
ฉนวนกันความร้อนหลังคา
ฉนวนกันความร้อนหลังคา
ฉนวนกันความร้อนหลังคา
Today | This Month | Total | |||
128 | 8288 | 323272 |